ซอฟแวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้และทำงานได้อย่างถูกต้องจำต้องเป็นสื่อกลางถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้วเรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการ การใช้คอมพิวเตอร์รับรู้และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อการสำหรับการตัดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่าภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง Machine Languages
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญานทำทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์รหัสแทนข้อมุลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้คำสั่งคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจจดจำได้ยากจึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
ภาษาแอสเซมบลี Assembly Languages
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาเอสเซมบลีก็ยังมีความไกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มากและจำเป็นต้องใช้แปลภาษาที่เรียกว่าเอสเซสเบลอร์ Assembler เพื่อแปลชุดภาษาเอสเซมบลี ให้เป้นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูง High-Level Languages
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะ เป็นโยคภาษาอังกฤษทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้นคนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้นเนื่องจากภาษาระดับสูงไกล้เคียงภาษามนุษย์ตัวแปลภาษาระดัีบสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่ 2 ชนิดด้วยกันคือ
คอมไพเลอร์ Compiler และ อินเทอร์พรีเตอร์ Interpreter
คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นระดับสูงทั้งโปรแกรมที่เป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลที่ละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้นเมื่อทำเสร็จแล้วจึงมากทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไปข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์ จึงอยุ่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง
ชนิดของระบบปฏิบัติการ จำแนกตามการใช้งานสามารถจำแนกออกเป็น 3 ชนิด ด้วยกัน คือ
1. ประเภทใช้งานเดียว( Single - tasking )ระบบปฏิบัติประเภทจะกำหหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้นใช้ในเครื่องขนาดเล็ก ไมโครคอมพิวเตอร์เช่นระบบปฏิบัติการ ดอส เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น